ผลงานของเรา

โครงการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคาร

ตรวจสอบอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และมาตรา 32 ทวิ (3) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2543 รวมถึงกฎกระทรวงหลักเกณฑ์การตรวจสอบอาคาร พ.ศ. 2548 เพื่อดำเนินการตรวจสอบอาคารเพื่อความปลอดภัยสำหรับการใช้อาคาร


ขอบเขตการดำเนินการตรวจสอบ


  • ตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร
  •       - การต่อเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร
          - การเปลี่ยนแปลงน้ำหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร
          - การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้อาคาร
          - การเปลี่ยนแปลงวัสดุก่อสร้างหรือวัสดุตกแต่งอาคาร
          - การชำรุดสึกหรอของอาคาร
          - การวิบัติของโครงสร้างอาคาร
          - การทรุดตัวของฐานรากอาคาร

  • ตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ประกอบของอาคาร
  •        ระบบบริการและอำนวยความสะดวก
          - ระบบลิฟต์
          - ระบบไฟฟ้า
          - ระบบปรับอากาศ
          - ระบบบันไดเลื่อน

           ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม
          - ระบบประปา
          - ระบบระบายน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย
          - ระบบระบายน้ำฝน
          - ระบบจัดการขยะมูลฝอย
          - ระบบระบายอากาศ
          - ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง

           ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
          - บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
          - เครื่องหมายและไฟป้ายบอกทางออกฉุกเฉิน
          - ระบบระบายควันและควบคุมการแพร่กระจายควัน
          - ระบบไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน
          - ระบบลิฟต์ดับเพลิง
          - ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
          - ระบบการติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง
          - ระบบการจ่ายน้ำดับเพลิง เครื่องสูบน้ำดับเพลิง และหัวฉีดน้ำดับเพลิง
          - ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
          - ระบบป้องกันฟ้าผ่า
          - แบบแปลนอาคารเพื่อการดับเพลิง

  • ตรวจสอบสมรรถนะของระบบ และอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อการอพยพ
  •       - สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
          - สมรรถนะเครื่องหมายและไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน
          - สมรรถนะระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้

  • ตรวจสอบระบบบริหารจัดการเพื่อความปลอดภัยในอาคาร
  •       - แผนการป้องกันและระงับอัคคีภัยในอาคาร
          - แผนการซ้อมอพยพผู้ใช้อาคาร
          - แผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาคาร
          - แผนการบริหารจัดการของผู้ตรวจอาคาร

  • ลักษณะบริเวณที่ต้องตรวจสอบ
  •       - ทางเข้าออกของรถดับเพลิง
          - ที่จอดรถดับเพลิง
          - สภาพของรางระบายน้ำ

  • ลักษณะบริเวณที่ไม่ต้องตรวจสอบ
  •       - ตรวจสอบพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยสูงต่อผู้ตรวจสอบ
          - ตรวจสอบที่อาจทำให้อาคารหรือวัสดุอุปกรณ์หรือทรัพย์เกิดความเสียหาย

การปฎิบัติงาน